สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
mobiletoggle
Search
Search
ค้นหาข่าวเตือนภัย
ค้นหา
Search
Search
ประเภทของข่าว
เลือกทั้งหมด
ประชาสัมพันธ์การอบรมสัมมนาและข่าวสารราชการ
ข้อกำหนดสารกำจัดศัตรูพืช ยาสัตว์ และสารปฏิชีวนะ
มาตรฐานการผลิตและระบบคุณภาพ
การแจ้งเตือนกักกัน ระงับนำเข้า และสินค้าผิดกฎหมาย
โรคระบาดสัตว์ การปนเปื้อนเชื้อก่อโรค และปลอมปน
ประชาคมเศรษฐกิจ การเปิดตลาด และการค้าเสรี
สถานการณ์การค้า และดัชนีซื้อขายสินค้าเกษตร
สินค้า/ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับผลกระทบ
สินค้าปศุสัตว์อื่นๆ
แมลง
สุกร
โค
สัตว์ปีก (ไก่ เป็ด และอื่นๆ)
สินค้าพืชอื่นๆ (เส้นใย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ฯลฯ)
พืช-เมล็ดสกัดน้ำมัน และผลิตภัณฑ์
ธัญพืช ข้าว พืชที่ให้แป้ง/น้ำตาล
ผัก ผลไม้ และผลิตภัณฑ์แปรรูป
สินค้าประมงอื่นๆ
หมึก-หอย (มอลลัสก์) และผลิตภัณฑ์
กุ้ง-ปู (ครัสเตเชียน) และผลิตภัณฑ์
ปลา และผลิตภัณฑ์
ซุปและเครื่องดื่มอื่นๆ นอกเหนือจากน้ำผัก-ผลไม้
ผลิตภัณฑ์คอมโพสิท (อาหารที่มีหลายส่วนผสม)
ผลิตภัณฑ์นมและแปรรูปจากนม
ขนมหวานและไอซ์คอนเฟคชันนารี
เบเกอรีและผลิตภัณฑ์ขนมอบ
อาหารตามหลักศาสนา
อาหารทางการแพทย์และผู้ป่วยโภชนาการเฉพาะ
อาหารทารกและเด็กเล็ก
วัตถุเจือปนอาหารอื่นๆ
เกลือ เครื่องเทศ และผงชูรส
สีผสมอาหาร
น้ำตาลและสารให้ความหวานอื่นๆ
บรรจุภัณฑ์ประเภทอื่นๆ
บรรจุภัณฑ์และเครื่องใช้ที่เป็นพลาสติก
ฉลากสินค้า
ประเทศ
แองโกลา
บูร์กินาฟาโซ
บุรุนดี
เบนิน
บอตสวานา
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
สาธารณรัฐคองโก
ไอวอรี่โคสต์
แคเมอรูน
เคปเวิร์ด
จิบูตี
แอลจีเรีย
อียิปต์
ซาฮาร่าตะวันตก
เอริเทรี
สาธารณรัฐเอธิโอเปีย
กาบอง
กานา
แกมเบีย
กินี
อิเควทอเรียลกินี
กินีบิสเซา
เคนย่า
คอโมโรส
ไลบีเรีย
เลโซโท
ลิบยา
โมร็อกโก
มาดากัสการ์
มาลี
มอริเตเนีย
มอริเชียส
มาลาวี
โมซัมบิก
นามิเบีย
ไนเจอร์
ไนจีเรีย
เรอูนียง
รวันดา
เซเชลส์
ซูดาน
เซนต์เฮเลนา
เซียร์ราลีโอน
เซเนกัล
โซมาเลีย
ซูดานใต้
เซาตูเมและปรินซีปี
สวาซิแลนด์
ชาด
โตโก
ตูนิเซีย
แทนซาเนีย
ยูกันดา
มายอต
แอฟริกาใต้
แซมเบีย
ซิมบับเว
แอนตาร์กติกา
เกาะบูเว็ต
หมู่เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
เกาะเฮิร์ดและหมู่เกาะแมคโดนัลด์
เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
อัฟกานิสถาน
อาร์เมเนีย
อาเซอร์ไบจาน
บังคลาเทศ
บาห์เรน
บรูไน
ภูฏาน
เกาะโคโคส [คีลิง]
จีน
เกาะคริสต์มาส
จอร์เจีย
ฮ่องกง
อินโดนีเซีย
อิสราเอล
อินเดีย
ดินแดนบริติชอินเดียนโอเชี่ยน
อิรัก
อิหร่าน
จอร์แดน
ญี่ปุ่น
คีร์กีสถาน
กัมพูชา
เกาหลีเหนือ
เกาหลีใต้
คูเวต
คาซัคสถาน
ลาว
เลบานอน
ศรีลังกา
พม่า
มองโกเลีย
มาเก๊า
มัลดีฟส์
มาเลเซีย
เนปาล
โอมาน
ฟิลิปปินส์
ปากีสถาน
ปาเลสไตน์
กาตาร์
ซาอุดิอาราเบีย
สิงคโปร์
ซีเรีย
ไทย
ทาจิกิสถาน
เติร์กเมนิสถาน
ตุรกี
ไต้หวัน
อุซเบกิ
เวียดนาม
เยเมน
อันดอร์รา
แอลเบเนีย
ออสเตรีย
แลน
บอสเนียและเฮอร์เซโก
เบลเยียม
บัลแกเรีย
เบลารุส
สวิสเซอร์แลนด์
ไซปรัส
เช็ก
เยอรมัน
เดนมาร์ก
เอสโตเนีย
สเปน
ฟินแลนด์
หมู่เกาะแฟโร
ฝรั่งเศส
อังกฤษ
เกิร์นซีย์
ยิบรอลตา
เวลส์
โครเอเชีย
ฮังการี
ไอร์แลนด์
เกาะแมน
ไอซ์แลนด์
อิตาลี
นิวเจอร์ซีย์
ลิกเตนสไตน์
ลิธัวเนีย
ลักเซมเบิร์ก
ลัตเวีย
โมนาโก
มอลโดวา
มอนเตเนโก
มาซิโดเนีย
มอลตา
เนเธอร์แลนด์
นอร์เวย์
โปแลนด์
โปรตุเกส
โรมาเนีย
เซอร์เบีย
รัสเซีย
สวีเดน
สโลวีเนีย
สฟาลบาร์และยานไมเอน
สโลวะเกีย
ซานมาริโน
ยูเครน
วาติกัน
โคโซโว
แอนติกาและบาร์บูดา
แองกวิลลา
อารูบา
บาร์เบโดส
เซนต์บาร์เธเลมี
เบอร์มิวดา
โบแนร์
บาฮามาส
เบลีซ
แคนาดา
คอสตาริกา
คิวบา
คูราเซา
โดมินิกา
สาธารณรัฐโดมินิกัน
เกรเนดา
เกาะกรีนแลนด์
กัวเดอลุป
กัวเตมาลา
ฮอนดูรัส
ไฮติ
จาเมกา
เซนต์คิตส์และเนวิส
หมู่เกาะเคย์เเมน
เซนต์ลูเซีย
เซนต์มาร์ติน
มาร์ตินีก
มอนต์เซอร์รัต
เม็กซิโก
นิการากัว
ปานามา
เซนต์ปิแอร์และมีเกอลง
เปอร์โตริโก้
เอลซัลวาดอร์
ซินต์มาร์เติน
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส
ตรินิแดดและโตเบโก
สหรัฐอเมริกา
เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา
อเมริกันซามัว
ออสเตรเลีย
หมู่เกาะคุก
ฟิจิ
ไมโครนีเซีย
กวม
คิริบาส
หมู่เกาะมาร์แชลล์
หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
นิวแคลิโดเนีย
เกาะนอร์ฟอล์ก
นาอูรู
นีอูเอ
นิวซีแลนด์
เฟรนช์โปลินีเซีย
ปาปัวนิวกินี
หมู่เกาะพิตแคร์น
ปาเลา
หมู่เกาะโซโลมอน
โตเกเลา
ติมอร์ตะวันออก
ตองงา
ตูวาลู
เกาะนอกรีตของสหรัฐฯ
วานูอาตู
วาลลิสและฟุตูนา
ซามัว
อาร์เจนตินา
โบลิเวีย
บราซิล
ชิลี
โคลอมเบีย
เอกวาดอร์
หมู่เกาะฟอล์คแลนด์
เฟรนช์เกีย
กายอานา
เปรู
ปารากวัย
ซูรินาเม
อุรุกวัย
เวเนซุเอลา
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
TH
EN
A
A
A
หน้าหลัก
ข่าวเตือนภัย
บทความและงานวิจัย
วารสาร
สารคดีเกษตร
เสนอแนะ
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
แผนผังเว็บไซต์
หน้าหลัก
ข่าวเตือนภัย
สั่งเกาะติด FTA ทรานส์แปซิฟิก
3 ตุลาคม 2554
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เปิดเผยว่า ได้หารือกับนางคริสตี เคนนีย์ เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย โดยฝ่ายสหรัฐฯ ได้เชิญนายกรัฐมนตรีให้ร่วมประชุมผู้นำกลุ่มเศรษฐกิจเอเชียแปซิฟิก หรือเอเปค ที่จะจัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2554 ที่รัฐฮาวาย
สหรัฐฯ แสดงความเห็นนโยบายแทบเล็ต เพื่อการศึกษาของไทยว่าเป็นนโยบายที่มีความน่าสนใจ และไทยสนใจแทบเล็ตของสหรัฐฯ หากมีราคาเหมาะสม ในการประชุมผู้นำสุดยอดเอเปคที่สหรัฐฯ เป็นเจ้าภาพ ประเด็นหลักที่สหรัฐฯต้องการผลักดันคือ การเปิดเสรีการค้าในกลุ่ม Trans-Pacific Strategic Economic Partnership: TPP ในขณะนี้มีสมาชิก 9 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐฯ บรูไน ชิลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เปรู สิงคโปร์ มาเลเซีย และเวียดนาม ทั้งนี้ สหรัฐฯ ต้องการขยายอิทธิพลทางการค้าในฝั่งเอเชียแปซิฟิกเพื่อคานอำนาจกับจีนซึ่งมีอิทธิพลทางการค้าในเอเชียตะวันออก โดย TPP พัฒนามาจากเขตการค้าเสรีเอเปค แต่การพัฒนาเอเปคไปสู่เขตการค้าเสรีโดยตรงถูกต่อต้านจากสมาชิกหลายประเทศ สหรัฐฯจึงหันไปผลักดัน TPP แทน โดยกลุ่มนี้มีสมาชิกอาเซียน 4 ประเทศ ประกอบด้วย เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน
นายกิตติรัตน์ กล่าวว่า หากไทยไม่ติดตามหรือศึกษา TPP ให้ดีอาจจะเสียเปรียบคู่แข่งขันในอาเซียนที่มีอยู่ถึง 4 ประเทศ ที่เป็นสมาชิกTPP จึงมอบหมายให้กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศติดตามอย่างใกล้ชิด และให้มองโอกาสว่าไทยจะเข้าร่วมความตกลง TPP ได้หรือไม่อย่างไร
นายกิตติรัตน์ กล่าวว่า หลังหารือกับนาย Gildas Le Lidec เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทยว่า นักลงทุนชาวฝรั่งเศสในไทยได้แสดงความมั่นใจว่าบริษัทกว่า 400 บริษัทซึ่งมีการจ้างงานกว่า 1 แสนคน มั่นใจว่าบริษัทฝรั่งเศสสามารถดำเนินตามนโยบายรัฐบาลที่เพิ่มค่าจ้างแรงงานเป็นวันละ 300 บาทได้ นอกจากนี้ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสฯ ยังได้สอบถามเรื่องการเจรจาความตกลงการค้าเสรี (FTA)ระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป เนื่องจากขณะนี้สหภาพยุโรปได้ทำการเจรจาFTA กับสิงคโปร์และมาเลเซียแล้ว และกำลังจะเริ่มเจรจากับเวียดนามเร็วๆนี้ จึงหวังว่าจะเริ่มเจรจา FTA กับไทยเช่นกัน และในตอนท้ายฝรั่งเศสยังได้แนะนำสำนักงานเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศฝรั่งเศส AFD ให้การสนับสนุนเงินกู้แก่ภาครัฐและเอกชนไทยในด้านการลงทุนขนาดใหญ่
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ( 3 ตุลาคม 2554 )
แชร์
บทความนี้มีประโยน์หรือไม่?
มีประโยชน์
ไม่มีประโยชน์
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
ไทยพบสุกรติดหวัด 2009
18 ธันวาคม 2552
มาเลเซียอาจเป็นผู้นำผลิตวัคซีนรายใหญ่ของโลก
27 มกราคม 2553
มาเลเซียผ่อนคลายข้อจำกัดการส่งออกไก่
11 ตุลาคม 2565
ผลผลิตผลไม้จากกว่างซีทุบสถิติ
12 พฤศจิกายน 2552
อินเดียห้ามนำเข้าสัตว์ปีกจากประเทศที่ได้รับผลกระทบจากไข้หวัดนก
2 ตุลาคม 2551
อียูคุมเข้มอาหารสัตว์และอาหารที่ไม่ได้มาจากสัตว์
14 พฤษภาคม 2553