สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
mobiletoggle
Search
Search
ค้นหาข่าวเตือนภัย
ค้นหา
Search
Search
ประเภทของข่าว
เลือกทั้งหมด
ประชาสัมพันธ์การอบรมสัมมนาและข่าวสารราชการ
ข้อกำหนดสารกำจัดศัตรูพืช ยาสัตว์ และสารปฏิชีวนะ
มาตรฐานการผลิตและระบบคุณภาพ
การแจ้งเตือนกักกัน ระงับนำเข้า และสินค้าผิดกฎหมาย
โรคระบาดสัตว์ การปนเปื้อนเชื้อก่อโรค และปลอมปน
ประชาคมเศรษฐกิจ การเปิดตลาด และการค้าเสรี
สถานการณ์การค้า และดัชนีซื้อขายสินค้าเกษตร
สินค้า/ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับผลกระทบ
สินค้าปศุสัตว์อื่นๆ
แมลง
สุกร
โค
สัตว์ปีก (ไก่ เป็ด และอื่นๆ)
สินค้าพืชอื่นๆ (เส้นใย ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ฯลฯ)
พืช-เมล็ดสกัดน้ำมัน และผลิตภัณฑ์
ธัญพืช ข้าว พืชที่ให้แป้ง/น้ำตาล
ผัก ผลไม้ และผลิตภัณฑ์แปรรูป
สินค้าประมงอื่นๆ
หมึก-หอย (มอลลัสก์) และผลิตภัณฑ์
กุ้ง-ปู (ครัสเตเชียน) และผลิตภัณฑ์
ปลา และผลิตภัณฑ์
ซุปและเครื่องดื่มอื่นๆ นอกเหนือจากน้ำผัก-ผลไม้
ผลิตภัณฑ์คอมโพสิท (อาหารที่มีหลายส่วนผสม)
ผลิตภัณฑ์นมและแปรรูปจากนม
ขนมหวานและไอซ์คอนเฟคชันนารี
เบเกอรีและผลิตภัณฑ์ขนมอบ
อาหารตามหลักศาสนา
อาหารทางการแพทย์และผู้ป่วยโภชนาการเฉพาะ
อาหารทารกและเด็กเล็ก
วัตถุเจือปนอาหารอื่นๆ
เกลือ เครื่องเทศ และผงชูรส
สีผสมอาหาร
น้ำตาลและสารให้ความหวานอื่นๆ
บรรจุภัณฑ์ประเภทอื่นๆ
บรรจุภัณฑ์และเครื่องใช้ที่เป็นพลาสติก
ฉลากสินค้า
ประเทศ
แองโกลา
บูร์กินาฟาโซ
บุรุนดี
เบนิน
บอตสวานา
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
สาธารณรัฐคองโก
ไอวอรี่โคสต์
แคเมอรูน
เคปเวิร์ด
จิบูตี
แอลจีเรีย
อียิปต์
ซาฮาร่าตะวันตก
เอริเทรี
สาธารณรัฐเอธิโอเปีย
กาบอง
กานา
แกมเบีย
กินี
อิเควทอเรียลกินี
กินีบิสเซา
เคนย่า
คอโมโรส
ไลบีเรีย
เลโซโท
ลิบยา
โมร็อกโก
มาดากัสการ์
มาลี
มอริเตเนีย
มอริเชียส
มาลาวี
โมซัมบิก
นามิเบีย
ไนเจอร์
ไนจีเรีย
เรอูนียง
รวันดา
เซเชลส์
ซูดาน
เซนต์เฮเลนา
เซียร์ราลีโอน
เซเนกัล
โซมาเลีย
ซูดานใต้
เซาตูเมและปรินซีปี
สวาซิแลนด์
ชาด
โตโก
ตูนิเซีย
แทนซาเนีย
ยูกันดา
มายอต
แอฟริกาใต้
แซมเบีย
ซิมบับเว
แอนตาร์กติกา
เกาะบูเว็ต
หมู่เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช
เกาะเฮิร์ดและหมู่เกาะแมคโดนัลด์
เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
อัฟกานิสถาน
อาร์เมเนีย
อาเซอร์ไบจาน
บังคลาเทศ
บาห์เรน
บรูไน
ภูฏาน
เกาะโคโคส [คีลิง]
จีน
เกาะคริสต์มาส
จอร์เจีย
ฮ่องกง
อินโดนีเซีย
อิสราเอล
อินเดีย
ดินแดนบริติชอินเดียนโอเชี่ยน
อิรัก
อิหร่าน
จอร์แดน
ญี่ปุ่น
คีร์กีสถาน
กัมพูชา
เกาหลีเหนือ
เกาหลีใต้
คูเวต
คาซัคสถาน
ลาว
เลบานอน
ศรีลังกา
พม่า
มองโกเลีย
มาเก๊า
มัลดีฟส์
มาเลเซีย
เนปาล
โอมาน
ฟิลิปปินส์
ปากีสถาน
ปาเลสไตน์
กาตาร์
ซาอุดิอาราเบีย
สิงคโปร์
ซีเรีย
ไทย
ทาจิกิสถาน
เติร์กเมนิสถาน
ตุรกี
ไต้หวัน
อุซเบกิ
เวียดนาม
เยเมน
อันดอร์รา
แอลเบเนีย
ออสเตรีย
แลน
บอสเนียและเฮอร์เซโก
เบลเยียม
บัลแกเรีย
เบลารุส
สวิสเซอร์แลนด์
ไซปรัส
เช็ก
เยอรมัน
เดนมาร์ก
เอสโตเนีย
สเปน
ฟินแลนด์
หมู่เกาะแฟโร
ฝรั่งเศส
อังกฤษ
เกิร์นซีย์
ยิบรอลตา
เวลส์
โครเอเชีย
ฮังการี
ไอร์แลนด์
เกาะแมน
ไอซ์แลนด์
อิตาลี
นิวเจอร์ซีย์
ลิกเตนสไตน์
ลิธัวเนีย
ลักเซมเบิร์ก
ลัตเวีย
โมนาโก
มอลโดวา
มอนเตเนโก
มาซิโดเนีย
มอลตา
เนเธอร์แลนด์
นอร์เวย์
โปแลนด์
โปรตุเกส
โรมาเนีย
เซอร์เบีย
รัสเซีย
สวีเดน
สโลวีเนีย
สฟาลบาร์และยานไมเอน
สโลวะเกีย
ซานมาริโน
ยูเครน
วาติกัน
โคโซโว
แอนติกาและบาร์บูดา
แองกวิลลา
อารูบา
บาร์เบโดส
เซนต์บาร์เธเลมี
เบอร์มิวดา
โบแนร์
บาฮามาส
เบลีซ
แคนาดา
คอสตาริกา
คิวบา
คูราเซา
โดมินิกา
สาธารณรัฐโดมินิกัน
เกรเนดา
เกาะกรีนแลนด์
กัวเดอลุป
กัวเตมาลา
ฮอนดูรัส
ไฮติ
จาเมกา
เซนต์คิตส์และเนวิส
หมู่เกาะเคย์เเมน
เซนต์ลูเซีย
เซนต์มาร์ติน
มาร์ตินีก
มอนต์เซอร์รัต
เม็กซิโก
นิการากัว
ปานามา
เซนต์ปิแอร์และมีเกอลง
เปอร์โตริโก้
เอลซัลวาดอร์
ซินต์มาร์เติน
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส
ตรินิแดดและโตเบโก
สหรัฐอเมริกา
เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา
อเมริกันซามัว
ออสเตรเลีย
หมู่เกาะคุก
ฟิจิ
ไมโครนีเซีย
กวม
คิริบาส
หมู่เกาะมาร์แชลล์
หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
นิวแคลิโดเนีย
เกาะนอร์ฟอล์ก
นาอูรู
นีอูเอ
นิวซีแลนด์
เฟรนช์โปลินีเซีย
ปาปัวนิวกินี
หมู่เกาะพิตแคร์น
ปาเลา
หมู่เกาะโซโลมอน
โตเกเลา
ติมอร์ตะวันออก
ตองงา
ตูวาลู
เกาะนอกรีตของสหรัฐฯ
วานูอาตู
วาลลิสและฟุตูนา
ซามัว
อาร์เจนตินา
โบลิเวีย
บราซิล
ชิลี
โคลอมเบีย
เอกวาดอร์
หมู่เกาะฟอล์คแลนด์
เฟรนช์เกีย
กายอานา
เปรู
ปารากวัย
ซูรินาเม
อุรุกวัย
เวเนซุเอลา
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
TH
EN
A
A
A
หน้าหลัก
ข่าวเตือนภัย
บทความและงานวิจัย
วารสาร
สารคดีเกษตร
เสนอแนะ
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
แผนผังเว็บไซต์
หน้าหลัก
ข่าวเตือนภัย
รังสีพ่นพิษอาหารญี่ปุ่นนานาชาติออกมาตรการ
25 มีนาคม 2554
4860 ครั้ง
กระแสหวาดกลัวการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีจากญี่ปุ่นลามหนัก สิงคโปร์ ออสเตรเลีย รัสเซีย ออกมาตรการตามอย่างสหรัฐ ส่วนฟิลิปปินส์ ห้ามนำเข้าช็อกโกแลตจากแดนซามูไร
เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2554 นายฟลอเรนซ์ ซิลบาโน หัวหน้ากองควบคุมคุณภาพอาหาร กระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ เปิดเผยโดยอ้างคำพูดของนายเอฟรอน มูเอสโตร ผู้อำนวยการกองอุตสาหกรรมสัตว์ที่มีคำสั่งเรียกคืนใบอนุญาตนำเข้าช็อกโกแลตจากญี่ปุ่นที่ออกให้บรรดาผู้นำเข้าเมื่อเดือนมกราคม ทั้งนี้ กองอุตสาหกรรมสัตว์ เป็นผู้ตรวจสอบใบอนุญาตนำเข้าผลิตภัณฑ์จากสัตว์ทุกชนิด อาทิเช่น ปลาและเนื้อ รวมทั้งอาหารที่ใช้ผลิตภัณฑ์จากสัตว์เป็นส่วนประกอบ ได้แก่ ช็อกโกแลต ซึ่งบางชนิดใช้นมวัวเป็นส่วนผสม
สำนักงานอาหารเกษตรและสัตวแพทย์สิงคโปร์ได้ออกคำสั่งห้ามนำเข้าอาหารจากญี่ปุ่น อาทิ นม ผลิตภัณฑ์จากนม ผลไม้ ผัก อาหารทะเลและเนื้อสัตว์ หลังจากกระทรวงสาธารณสุขแรงงานและสวัสดิการญี่ปุ่น เปิดเผยว่า พบรังสีปริมาณสูงปนเปื้อนในน้ำนมดิบและผัก จากจังหวัดฟูกุชิมา อิบารากิ โตชิกิ และกุนมะ พร้อมกันนี้สำนักงานฯ จะติดตามและตรวจสอบอาหารนำเข้าจากญี่ปุ่นต่อไป
ขณะเดียวกันออสเตรเลียสั่งระงับการนำเข้าอาหารจาก 4 จังหวัด ใกล้โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ได้แก่ ฟูกุชิมา อิบารากิ โตชิกิ และกุนมะ โดยอาหารที่ห้ามนำเข้าได้แก่ สาหร่ายทะเล อาหารทะเล นม ผลิตภัณฑ์นม ผลไม้สด และผัก แต่อาหารที่อยู่บนหิ้งแล้วมีความปลอดภัย เพราะจัดส่งก่อนเกิดแผ่นดินไหว
นพ.พิพัฒน์ ยิ่งเสรี เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กล่าวว่า ได้สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจที่สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ตั้งแต่ 16-23 มีนาคม 2554 จำนวน 65 ตัวอย่าง โดยได้รับผลวิเคราะห์แล้ว 39 ตัวอย่าง ได้แก่ ปลาสด 29 ตัวอย่าง มันเทศ 1 ตัวอย่าง ลูกพลับแห้ง 1 ตัวอย่าง สตรอว์เบอร์รี 2 ตัวอย่าง หอย 3 ตัวอย่าง กุ้ง 2 ตัวอย่าง และปลาหมึก 1 ตัวอย่าง ผลการตรวจวัดสารกัมมันตภาพรังสีอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่พบการปนเปื้อน
ขณะนี้เหตุการณ์การรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีในญี่ปุ่นรุนแรงมากขึ้น อย. จึงมีมาตรการในการปรับระดับการเฝ้าระวังอาหารนำเข้าจากญี่ปุ่น โดยขอความร่วมมือผู้นำเข้าให้ระมัดระวังการนำเข้าอาหารจากเกาะฮอนชู โดยเฉพาะผักและผลไม้ ซึ่งช่วงนี้ที่มีการนำเข้าเพียงมันเทศ 100 กก. สตรอว์เบอร์รี 20-30 กก. และลูกพลับแห้งเท่านั้น อย. จะเก็บตัวอย่างมาตรวจ รวมทั้ง ขอความร่วมมือผู้นำเข้าชะลอการจำหน่าย จนกว่าผลการตรวจวิเคราะห์จะเสร็จสำหรับอาหารทะเล อย. จะสุ่มตัวอย่างเพิ่มมากขึ้นและขอให้สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เร่งดำเนินการตรวจผัก และผลไม้ก่อนสินค้าอื่น คาดว่าผลการตรวจน่าจะไม่เกิน 24 ชม. เมื่อผลออกมาแล้วค่อยนำไปจำหน่าย ส่วนนมนั้นไทยไม่ได้นำเข้าจากญี่ปุ่น แม้นมบางยี่ห้อจะมีชื่อญี่ปุ่นก็ตาม ในช่วงนี้จะเฝ้าระวังอาหารทะเล ผักและผลไม้ก่อน ส่วนขั้นต่อไปจะเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์นมหรือขนมจากญี่ปุ่น คาดว่าต้องเฝ้าระวังต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1-2 เดือน
จีนออกมาตรการควบคุมอาหารนำเข้าจากญี่ปุ่น เพื่อหาร่องรอยกัมมันตรังสี ฮ่องกงตรวจสอบอาหารสดทั้งหมดที่นำเข้าจากญี่ปุ่น ตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม 2554 เพื่อหาร่องรอยกัมมันตรังสีไอโอดีนและซิเซียม มาเลเซียตรวจสอบอาหารทั้งหมดที่นำเข้าจากญี่ปุ่น แต่ยังไม่มีแผนห้ามนำเข้า
อินโดนีเซีย ออกแถลงการณ์เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่น ตรวจสอบและให้หลักประกันว่าผลิตภัณฑ์อาหารทุกประเภทที่นำเข้ามาจำหน่ายในอินโดนีเซียหลัง 11 มีนาคม ปลอดการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี
รัสเซียได้งดนำเข้าอาหารจาก 4 จังหวัดเช่นกัน แต่เกาหลีใต้บอกว่าไม่มีแผนจะสั่งห้ามนำเข้าอาหารจากเขตภัยพิบัติของญี่ปุ่นในช่วงนี้ เพราะตรวจไม่พบการปนเปื้อนรังสี
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ไทยโพสต์
แชร์
บทความนี้มีประโยน์หรือไม่?
มีประโยชน์
ไม่มีประโยชน์
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
ยุโรปเล็งขึ้นภาษีไก่แปรรูป
1 ตุลาคม 2552
4830 ครั้ง
มกอช.จัดสัมมนา ทิศทางด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารระหว่างประเทศ
2 กันยายน 2554
4821 ครั้ง
อาหรับสู่ตลาดเดียว-รับรองระบบควบคุมผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล
29 พฤศจิกายน 2556
4960 ครั้ง
พบเชื้อไข้หวัดนกในเกาหลีใต้
29 พฤศจิกายน 2550
4821 ครั้ง
การส่งออกผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของสาร Cannabidiol (CBD) สู่ประเทศญี่ปุ่น
10 สิงหาคม 2565
214 ครั้ง
EU เตรียมนำผักตระกูลกะหล่ำของไทยออกจากรายการตรวจเข้ม
19 ธันวาคม 2556
4818 ครั้ง