TH EN
A A A

การเปลี่ยนสีกลีบเลี้ยงของมังคุด

3 ธันวาคม 2562    ครั้ง

การเปลี่ยนสีกลีบเลี้ยงของมังคุด

ประจำเดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๖๓

    องค์ความรู้

  1. เทคโนโลยีการเเก้อาการกลีบเลี้ยงสีเเดงของมังคุดในระยะก่อนการเก็บเกี่ยว

  2. เทคโนโลยีชะลอการเปลี่ยนสีกลีบเลี้ยงมังคุดในระยะหลังการเก็บเกี่ยว   

    สถานการณ์

  ปริมาณ ปี 2559 143,226,220 กิโลกรัม

       มูลค่าการส่งออก 4,308 ล้านบาท

     จังหวัดจันทบุรีมีกำลังการผลิตมากที่สุด 68,871 ตันต่อปี

    การส่งออกมังคุดไปยังต่างประเทศผลผลิตมังคุดต้องมีคุณภาพตรงตามความต้องการของตลาด

   ขนาด 100 กรัมขึ้นไป

    ผิวสวย/ผิวมัน

    ไม่มีการเข้าทำลายของโรคเเละเเมลง

    ไม่มีอาการเนื้อเเก้วยางไหล

    **อาการกลีบเลี้ยงสีเเดงของมังคุด (อาการหูเเดง) ทำให้มังคุดราคาตกต่ำ ส่งผลต่อเกษตรกรและผู้ส่งออกโดยตรง**

 

ปัจจัยที่ทำให้กลีบเลี้ยงของมังคุดเป็นสีเเดง

1. ปริมาณคลอโรฟิลล์ในกลีบเลี้ยงลดลง    2. ดินขาดธาตุเเมกนีเซียม

 

การป้องกัน

ฉีดพ่นเเมกนีเซียมทางใบ (1,000-1,500 มิลลิกรัม/ลิตร) ร่วมกับใส่ทางดิน (1,000-1,500 กรัม/ต้น)

 

ครั้งที่ 1

ระยะดอกบาน 2 cm. (สัปดาห์ที่ 3-4 หลังออกดอก)

  ครั้งที่ 2  

 ระยะผลขนาดเท่าลูกปิงปอง (ผลอายุ 7-8 สัปดาห์ หลังดอกบาน)  

ครั้งที่ 3

ก่อนเก็บเกี่ยว 2 สัปดาห์. (ผลอายุ 10-13 สัปดาห์ หลังดอกบาน)  

 

 

  ที่มา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)

อัลบั้มภาพ