National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards.
mobiletoggle
Search
Search
Early warning Search
Search
Search
Search
Type of news
Select all
Official Notice, Seminar and Training
Pesticides, Veterinary Drugs and Antibiotics MRL/MLs
Production Standards and Quality Systems
Import/Export Detention, Suspension and Unlawful
Disease, Food Poisoning Outbreaks and Fraud
Economic Communities, Market Access and FTAs
Market Situations and Agriculture Price Index
Affected Commodity/Product Classification
Others
Insect
Swine/Pig
Bovine/Cow
Poultry
Others (inc. Fiber Crop and Textile)
Oil Crop and Oilseed
Grains, Rice, Cereal and Flour/Starch/Sugar Crop
Vegetable, Fruit and Processed (inc. Juice/Nectar)
Others
Mollusk (Shellfish, Cuttlefish, Squid, etc.)
Crustecean (Shrimp, Prawn, Crab, etc.)
Fish and Fish Product
Soup and Beverages (NOT inc. Juice/Nectar)
Composite Food
Dairy Products
Candy, Dessert and Ice Confectionary
Bakeryware
Religious Food (inc. Halal, Kosher)
Special Purposed and Medical Food
Infant and Follow-up Formula
Others
Salt, Spice and Flavor Enhancer
Food Coloring
Sugar and Substitutes
Other Package Material/Utensil
Plastic Package and Utensil
Food Label/Labeling
Country
Angola
Burkina Faso
Burundi
Benin
Botswana
Democratic Republic of the Congo
Central African Republic
Republic of the Congo
Ivory Coast
Cameroon
Cape Verde
Djibouti
Algeria
Egypt
Western Sahara
Eritrea
Ethiopia
Gabon
Ghana
Gambia
Guinea
Equatorial Guinea
Guinea-Bissau
Kenya
Comoros
Liberia
Lesotho
Libya
Morocco
Madagascar
Mali
Mauritania
Mauritius
Malawi
Mozambique
Namibia
Niger
Nigeria
Réunion
Rwanda
Seychelles
Sudan
Saint Helena
Sierra Leone
Senegal
Somalia
South Sudan
São Tomé and Príncipe
Swaziland
Chad
Togo
Tunisia
Tanzania
Uganda
Mayotte
South Africa
Zambia
Zimbabwe
Antarctica
Bouvet Island
South Georgia and the South Sandwich Islands
Heard Island and McDonald Islands
French Southern Territories
United Arab Emirates
Afghanistan
Armenia
Azerbaijan
Bangladesh
Bahrain
Brunei
Bhutan
Cocos [Keeling] Islands
China
Christmas Island
Georgia
Hong Kong
Indonesia
Israel
India
British Indian Ocean Territory
Iraq
Iran
Jordan
Japan
Kyrgyzstan
Cambodia
North Korea
South Korea
Kuwait
Kazakhstan
Laos
Lebanon
Sri Lanka
Myanmar [Burma]
Mongolia
Macao
Maldives
Malaysia
Nepal
Oman
Philippines
Pakistan
Palestine
Qatar
Saudi Arabia
Singapore
Syria
Thailand
Tajikistan
Turkmenistan
Turkey
Taiwan
Uzbekistan
Vietnam
Yemen
Andorra
Albania
Austria
land
Bosnia and Herzegovina
Belgium
Bulgaria
Belarus
Switzerland
Cyprus
Czechia
Germany
Denmark
Estonia
Spain
Finland
Faroe Islands
France
United Kingdom
Guernsey
Gibraltar
Wales
Croatia
Hungary
Ireland
Isle of Man
Iceland
Italy
Jersey
Liechtenstein
Lithuania
Luxembourg
Latvia
Monaco
Moldova
Montenegro
Macedonia
Malta
Netherlands
Norway
Poland
Portugal
Romania
Serbia
Russia
Sweden
Slovenia
Svalbard and Jan Mayen
Slovakia
San Marino
Ukraine
Vatican City
Kosovo
Antigua and Barbuda
Anguilla
Aruba
Barbados
Saint Barthélemy
Bermuda
Bonaire
Bahamas
Belize
Canada
Costa Rica
Cuba
Curacao
Dominica
Dominican Republic
Grenada
Greenland
Guadeloupe
Guatemala
Honduras
Haiti
Jamaica
Saint Kitts and Nevis
Cayman Islands
Saint Lucia
Saint Martin
Martinique
Montserrat
Mexico
Nicaragua
Panama
Saint Pierre and Miquelon
Puerto Rico
El Salvador
Sint Maarten
Turks and Caicos Islands
Trinidad and Tobago
United States
Saint Vincent and the Grenadines
British Virgin Islands
U.S. Virgin Islands
American Samoa
Australia
Cook Islands
Fiji
Micronesia
Guam
Kiribati
Marshall Islands
Northern Mariana Islands
New Caledonia
Norfolk Island
Nauru
Niue
New Zealand
French Polynesia
Papua New Guinea
Pitcairn Islands
Palau
Solomon Islands
Tokelau
East Timor
Tonga
Tuvalu
U.S. Minor Outlying Islands
Vanuatu
Wallis and Futuna
Samoa
Argentina
Bolivia
Brazil
Chile
Colombia
Ecuador
Falkland Islands
French Guiana
Guyana
Peru
Paraguay
Suriname
Uruguay
Venezuela
Login / Register
TH
EN
A
A
A
HOME
Early warning
Articles and Research
Journal
Documentary
Contact US
Related Sites
Site Map
HOME
Early warning
กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าใหม่ของโครงการ GSP สหภาพยุโรป
2 February 2554
GSP หรือคำเต็ม คือ Generalized System of Preferences หมายถึง ระบบการให้สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากร
เป็นการทั่วไปที่ประเทศหรือกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ให้แก่ประเทศที่กำลังพัฒนา ด้วยการลดหย่อนหรือยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับสินค้าที่นำเข้าจากประเทศกำลังพัฒนา แต่สินค้าที่จะได้รับสิทธิจะต้องผลิตจากประเทศที่ได้รับสิทธิ กฎเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาตัดสินว่าสินค้าใดผลิตจากประเทศใด คือ กฎที่เรียกว่า กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) ซึ่งก็มีความแตกต่างกันไปของแต่ละประเทศ หรือกลุ่มประเทศที่ให้สิทธิ
สหภาพยุโรปก็เป็นกลุ่มประเทศที่ให้สิทธิGSP แก่ประเทศที่กำลังพัฒนา มาตั้งปี 2514 และต่ออายุโครงการ GSP มาตลอดเป็นช่วงๆ ล่าสุดได้ ออกข้อกำหนด ที่ 732/2008 ต่ออายุโครงการออกไปอีกสามปี จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 สิทธิ GSP ของสหภาพยุโรปที่ได้รับการต่ออายุ แบ่งสิทธิเป็นสามประเภท ประเภทที่หนึ่ง คือ สิทธิ GSP มาตรฐาน มีประเทศกำลังพัฒนาได้รับสิทธิรวม 176 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทยด้วย ประเภทที่สอง คือ สิทธิพิเศษให้เป็นการเฉพาะเพื่อกระตุ้นสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนและมีธรรมาภิบาล ที่เรียกว่าGSP + ประเภทที่สาม เป็นสิทธิพิเศษที่ให้กับประเทศที่พัฒนาน้อยสุดที่เรียกกันว่า Every thing But Arms (EBA) เป็นการให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด ให้สามารถส่งสินค้าทุกชนิดยกเว้นอาวุธ เข้าสหภาพยุโรปได้อย่างเสรีปราศจากภาษีและข้อจำกัดการนำเข้า
สินค้านำเข้าที่จะได้รับสิทธิพิเศษจากสหภาพยุโรปต้องเป็นสินค้าที่ผลิตในประเทศที่ได้รับสิทธิถูกต้องตาม กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าตาม ข้อกำหนดที่ 2454/93 ซึ่งสหภาพยุโรปเห็นว่า เป็นกฎที่เก่าล้าสมัยสลับซับซ้อนยุ่งยาก และเข้มงวดเกินไป ทำให้เป็นการยากที่ประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุดจะปฏิบัติได้ จึงได้แก้ไขปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าดังกล่าวโดยออกประกาศข้อกำหนดที่ 1063/2510 ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 โดยปรากฏเจตนารมณ์ของการแก้ไขปรับปรุงตามที่ปรากฏในอารัมภบทของข้อกำหนดดังกล่าวสรุปที่สำคัญบางประเด็น คือ เพื่อแก้ไขปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าที่ใช้อยู่เดิมให้มีความง่ายขึ้น และมีความเป็นมิตรกับผู้ปฏิบัติมากขึ้น กำหนดให้มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาแหล่งกำเนิดสินค้าที่ผลิตในประเทศที่ได้รับสิทธิที่จำเป็นต้องใช้วัตถุดิบนำเข้าให้เหลือเพียงหลักเกณฑ์เดียวสำหรับสินค้าทุกประเภท นั่นคือ ใช้เกณฑ์การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์เป็นพื้นฐานการพิจารณาสำหรับสินค้าที่ผ่านการแปรสภาพอย่างเพียงพอขั้นต่ำมาแล้ว อย่างไรก็ตาม การใช้เกณฑ์การเพิ่มมูลค่าของสินค้าเพียงอย่างเดียว ก็อาจไม่เหมาะสมกับสินค้าบางประเภท เช่น สินค้าเกษตร ผลิตภัณฑ์ประมง สารเคมี สิ่งทอและเสื้อผ้า ก็เปิดช่องให้มีการใช้เกณฑ์ที่เป็นทางเลือก คือ เกณฑ์กำหนดอัตราสูงสุดในการใช้วัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกำเนิด การเปลี่ยนพิกัดของผลิตภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์บางจำพวก
กฎ ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ที่สำคัญๆ โดยสรุป คือ
- แก้ไขคำนิยามในการพิจารณาสัญชาติของเรือที่จับและแปรรูปสินค้าประมง ที่จะถือว่าสินค้าประมงที่จับได้และแปรรูปในเรือนั้นมีแหล่งกำเนิด (Wholly obtained) ในประเทศที่เป็นสัญชาติของเรือนั้น ให้ยุ่งยากน้อยลง
- กฎเดิมที่กำหนดว่าสินค้าที่จะได้รับสิทธิพิเศษจะต้องแสดงหลักฐานว่าส่งตรงมายังสหภาพยุโรป ซึ่งมีความยุ่งยาก ก็ตัดออก แต่ทั้งนี้ สินค้านั้นจะต้องไม่มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างทาง
- เพิ่มกลุ่มประเทศที่สามารถใช้แหล่งกำเนิดสะสมขึ้นอีกหนึ่งกลุ่ม และให้ใช้ข้ามกลุ่มได้สำหรับบางกลุ่มขึ้น
คำว่าแหล่งกำเนิดสินค้าสะสม (Cumulation of origin) หมายถึง การที่ประเทศส่งออกสามารถใช้วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศอื่นหรือกลุ่มประเทศอื่นผลิตสินค้า เสมือนว่าเป็นวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่มีแหล่งกำเนิดในประเทศตนเอง หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ไม่ถือว่าเป็นวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนนำเข้า มีดังนี้
๐ แหล่งกำเนิดสินค้าสะสมทวิภาคี (Bilateral cumulation) คือ การใช้วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่มีแหล่งกำเนิดในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป
๐ แหล่งกำเนิดสินค้าสะสม กับนอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ และตุรกี คือ การใช้วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่มีแหล่งกำเนิดในประเทศดังกล่าว
๐ แหล่งกำเนิดสินค้าสะสมระดับภูมิภาค (Regional comulation) คือ สามารถใช้วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่มีแหล่งกำเนิดในประเทศสมาชิกในกลุ่มภูมิภาคนั้นได้ ซึ่งมีสี่กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่ง คือ อาเซียน กลุ่มที่สอง กลุ่มประเทศในอเมริกาใต้ เช่น โบลิเวีย โคลัมเบีย กลุ่มที่สาม กลุ่มเอเชียตะวันออก บังกลาเทศ อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา มัลดีฟส์ กลุ่มที่สี่ ประเทศในอเมริกาใต้อีกกลุ่มหนึ่ง เช่น อาร์เจนตินา บราซิล ทั้งนี้ ระหว่างกลุ่มที่หนึ่งและที่สามสามารถใช้ข้ามกลุ่มกันได้โดยทำเรื่องขอต่อสหภาพยุโรป
๐ แหล่งกำเนิดสินค้าสะสมส่วนขยาย (Extended cumulation) เป็นแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมที่กำหนดขึ้นใหม่ คือ สามารถใช้วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่มีแหล่งกำเนิดในประเทศที่เป็นภาคีสมาชิกของความตกลงเขตการค้าเสรีที่ทำกับสหภาพยุโรป โดยต้องทำเรื่องร้องขอต่อสหภาพยุโรปและเฉพาะสินค้าบางรายการตามที่กำหนดไว้เท่านั้น
- เปลี่ยนแปลงระบบการรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าที่เดิมกำหนดให้มีหนังสือรับรองที่ออกโดยทางการไปแสดงในการนำเข้า เปลี่ยนมาใช้ระบบการจดทะเบียนผู้ส่งออก ให้ผู้ส่งออกและผู้นำเข้าต้องมีความรับผิดชอบด้วยกัน ด้วยการยกเลิกระบบการออกหนังสือรับรองและให้ผู้ส่งออกที่จดทะเบียนเป็นผู้ออกเอกสารสำแดงแหล่งกำเนิด ส่วนเจ้าหน้าที่ของทางการประเทศผู้ส่งออกที่เป็นผู้เคยออกหนังสือรับรองก็ให้ไปเน้นการตรวจสอบหลังจากการส่งออก ระบบนี้จะเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 สำหรับประเทศที่ยังไม่พร้อมสามารถขอขยายเวลาไปเริ่มใช้ช้าสุดคือ 1 มกราคม 2563
- การพิจารณาแหล่งกำเนิดของสินค้า ที่ผลิตจากวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่ไม่ใช่สินค้าที่ทั้งหมดได้จากประเทศนั้น (wholly obtained) เป็นไปตามตาราง ภาคผนวก 13a โดยมีกฎเกณฑ์การพิจารณา สี่หลักเกณฑ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับประเภทของผลิตภัณฑ์ คือ
๐ การผลิตหรือการแปรสภาพที่ใช้วัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่ไม่ใช่แหล่งกำเนิด (non-originating materials) ไม่เกินอัตราสูงสุดที่กำหนด
๐ การผลิตหรือแปรสภาพจนวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนนั้นเปลี่ยนจากพิกัดศุลกากรสี่หลักหรือหกหลักแล้วแต่กรณีไปเป็นพิกัดศุลกากรพิกัดใหม่
๐ การผลิตหรือแปรสภาพตามที่กำหนดไว้เป็นการเฉพาะ
๐ การผลิตหรือแปรสภาพจากสินค้าบางรายการที่เป็นสินค้าที่ทั้งหมดได้จากประเทศนั้น (wholly obtained)
การกำหนดกฎเกณฑ์สำหรับสินค้า จะกำหนดไว้เป็นการเฉพาะสำหรับสินค้าแต่ละประเภทในช่องที่สามของตาราง บางรายการก็แยกของกลุ่มประเทศที่พัฒนาน้อยสุดไว้ต่างหาก ซึ่งจะมีขั้นตอนการผลิตที่ผ่อนคลายมากกว่า และยุ่งยากน้อยกว่าของประเทศที่กำลังพัฒนา เช่น การผลิตเครื่องนุ่งห่มใช้เพียงขั้นตอนเดียว คือ ผลิตจากผ้าผืนก็ใช้ได้
สำหรับของประเทศกำลังพัฒนาที่ได้รับสิทธิ GSP มาตรฐาน พิจารณาโดยภาพรวม ก็ผ่อนคลายมากขึ้นจากกฎเดิม บางรายการสินค้าสามารถใช้วัตถุดิบที่ไม่ใช่แหล่งกำเนิดเพิ่มมากขึ้นถึง ร้อยละ 70 สินค้าบางรายการก็สามารถเลือกได้ว่าจะใช้กฎเปอร์เซ็นต์การใช้ชิ้นส่วน หรือการเปลี่ยนพิกัดก็ได้
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ
Share
Is this article useful?
Useful
Useless
Related News
ระเบียบใหม่อียูเรื่องสวัสดิภาพสัตว์
30 January 2552
ไต้หวันตรวจยึดเมลอนจากญี่ปุ่น หลังพบยาฆ่าแมลงเกินปริมาณที่อนุญาต
10 November 2566
บราซิลส่งออกเนื้อวัวชะงักเหตุพบโรควัวบ้า
7 June 2562
ออสเตรเลียอนุญาตการเปิดตลาดเนื้อเป็ดปรุงสุกจากไทย
19 May 2566
มูลค่าการส่งออกเนื้อไก่บราซิลต้นปี 2565 เพิ่มขึ้นถึง 42%
14 March 2565
มาเลเซียนำเข้าเนื้อวัวเพิ่มขึ้น
13 November 2556