ประจำเดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๖๓
1. พื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ พื้นที่ครอบคลุมทั้งหมด 2.1 ล้านไร่
ได้เเก่ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ศรีษะเกษ ยโสธร เเละสุรินทร์
ผลิตข้าวหอมที่มีคุณภาพดี มีความเป็นเอกลักษณ์
2. จุดเด่นสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication : GI)
สร้างมูลค่าเพิ่ม เป็นที่ต้องการในตลาดเฉพาะการถ่ายทอดความเป็นมาของสินค้า (Story)
3. แนวทางการผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้เพื่อเป็นสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
3.1. คัดเลือกเกษตรกรเเละพื้นที่
3.2. คัดเลือกโรงสีข้าว
3.3. คัดเลือกโรงสีข้าว
3.4. อบรมความรู้การผลิตข้าว GAP เเละข้าว GI เเก่เกษตรกร เเละผู้ประกอบการ
3.5. ยื่นขอการรับรองการผลิตข้าว GAP
3.6. ยื่นขอการรับรองสินค้า GI กับกรมทรัพย์สินทางปัญญาเเละสหภาพยุโรป
3.7. ตรวจประเมินโดยหน่วยงานรับรองภายนอก
3.8. ตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพผลผลิตข้าวเปลือกตามเกณฑ์ GAP
3.9. ตรวจสอบคุณภาพทางเคมีผลผลิตข้าวเปลือกตามเกณฑ์ที่ขึ้นทะเบียนกรมทรัพย์สินทางปัญญาและสหภาพยุโรป
3.10 พัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบตรวจสอบย้อนกลับข้าวมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ (Traceability)
4. ประโยชน์ของการตรวจสอบย้อนกลับ
ที่มา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)