TH EN
A A A

จัดการลองกองอย่างไร ลดการหลุดร่วงเเละชะลอการเกิดสีน้ำตาลที่เปลือก

15 February 2565   

จัดการลองกองอย่างไร
ลดการหลุดร่วงเเละชะลอการเกิดสีน้ำตาลที่เปลือก

ประเดือนมีนาคม 2565

     ทำไมลองกองส่งไปขายได้ไม่ไกล
   - ผลหลุดล่วง
   - เปลือกสีน้ำตาล
   - ผลเน่าเสีย

     สาเหตุ
   - อายุ>13สัปดาห์ (หลังดอกบาน)
   - เชื้อรา
   - เอทีลีน

   - สูญเสียน้ำ

     สถานการณ์ลองกอง
   - ผลผลิต 150,000 ตัน
   - พื้นที่ปลูก 350,000 ไร่
   - ส่งออกเพียง 1,500 ตัน
   - เกษตรกร 140,000 ครัวเรือน

     7 ขั้นตอน ลดการหลุดร่วง
   1. เก็บเกี่ยวช่อลองกอง 13 สัปดาห์หลังดอกบาน
   2. คัดช่อลองกองที่สมบูรณ์น้ำหนักใกล้เคียงกัน
   3. กำจัดเเมลง สิ่งสกปรก เเละผลเน่าเสียออก
   4. จุ่มสารละลาย CaCl2 0.25% / Prochloraz 750 ppm / NNA 200 ppm นาน 3 นาที

   5. บรรจุลงตระกร้าที่รองด้วยกระดาษปรูฟ 2 ชั้น คลุมด้วยผ้าเปียก
   6. เก็บรักษาในห้องเย็น 18 C เป็นเวลา 10 วัน
   7. วางจำหน่ายได้นาน 4 วัน (หลุดร่วงไม่เกิน 30%)

     เพิ่มโอกาสในการส่งออก
   1. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายขนส่งไปจำหน่ายได้ไกลขึ้น

   2. เก็บรักษาได้นาน 10 วัน
   3. หลุดร่วงไม่เกิน 10%

   **มาตรฐานสินค้าเกษตรเเละอาหารเเห่งชาติกำหนดให้ช่อลองกองหลุดร่วงได้ไม่เกิน 30%**

 

   ผลงานวิจัย
   โครงการขนส่งลองกองเพื่อการส่งออกในระดับการค้าไปประเทศจีนโดยทางเรือ
   โครงการปัจจัยก่อนเเละหลังการเก็บเกี่ยวที่มีผลต่อการส่งออกลองกองไปประเทศจีนโดยทางเรือ

 

 

ที่มา : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)

 

 

 

Photo Albums